การจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากยานพาหนะ สถานการณ์ปัญหา เสียงดัง เป็นปัญหาที่พบในเขตชุมชนและพื้นที่พัฒนาต่างๆ ที่มีการขยายตัวของการคมนาคมขนส่งโดยเฉพาะกรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาอย่างต่อเนื่อง โดยแหล่งกำเนิดเสียงที่สำคัญคือ ยานพาหนะ จากผลการตรวจวัดระดับเสียงโดยสถานีตรวจวัดอย่างต่อเนื่องพบว่า ในปี 2548 บริเวณริมถนนมีค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง 60. 8-90. 3 เดซิเบลเอ (เฉลี่ย 71 เดซิเบลเอ) เกินมาตรฐาน1 ร้อยละ 70 ของจำนวนวันที่ตรวจวัด และผลการตรวจวัดระดับเสียงจากยานพาหนะประเภทต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนร้อยละของรถที่ใช้เครื่องยนต์เบนซิน พบว่า รถยนต์สี่ล้อเล็ก มีระดับเสียงเกินมาตรฐานมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50. 4 รองลงมาคือ รถจักรยานยนต์ 2 จังหวะ รถสามล้อเครื่อง และรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ (ร้อยละ 35. 1, 12. 8 และ 1. 7 ตามลำดับ) ส่วนรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล พบว่า รถโดยสารระหว่างจังหวัดมีระดับเสียงเกินมาตรฐานมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34. 4 รองลงมาคือ รถโดยสารไม่ประจำทาง รถตู้ รถมินิบัส และรถโดยสารร่วมประจำทาง ขสมก. (ร้อยละ 29. 7, 10, 8. 6, และ 8.

มลพิษทางเสียง - Environment and Life10

ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ - หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน 120 เดซิเบลเอ - หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนัก - หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ 2. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่ เป็นต้น 3. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงานและการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง 4. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ 5. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมเสียง 6. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจและอพยพหนี การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง 1. กำหนดให้มีมาตรฐานควบคุมระดับความดังของเสียงทุกประเภท 2. ควบคุมระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดให้อยู่ในระดับที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด โดยการ ใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ใช้เสียงดัง บุผนังห้องด้วยวัสดุลดเสียง หรือกำแพงกั้นเสียง 3.

  • DIY Backdrop กุหลาบ จากกระดาษ 100ปอนด์ - YouTube | ดอกไม้กระดาษ, กุหลาบ
  • ดาว โหลด เพลง ลง ไอ โฟน
  • สร้อย ข้อ มือ เท่ ๆ
  • ท่าอากาศยาน นานาชาติ นา ริ ตะ
  • เนื้อเพลง wind of change แปล ไทย y
  • ยาง maxxis hp m3 รีวิว x
  • Into the Dark: Good Boy (2020) สู่ความมืดมน: น้อนขย้ำโหด – ซับไทยเต็มเรื่อง [671] | Unseenthaisub.com
  • โซนี่เปิดตัว PlayStation Vita รุ่นเบาบางกว่าเดิม และ PS Vita TV
  • แชมพู ปิด ผม ขาว day here to read
  • เบี้ยแก้ หลวง ปู่ เจือ 84 http
  • เบอร์ มงคล dtac เติม เงิน

PCD: การจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากยานพาหนะ

การจำกัดจำนวนยานพาหนะ 1. 1 การเก็บค่าธรรมเนียมเข้าพื้นที่การจราจรแออัด 1. 2 การจัดระบบบริการแท็กซี่ 1. 3 การกำหนดอายุการใช้งานรถรับจ้างทุกประเภท 1. 4 การควบคุมอัตราเพิ่มของรถยนต์ส่วนบุคคล 1. 5 การส่งเสริมให้ประชาชนลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล 1. 6 การห้ามรถบรรทุกวิ่งในเขตพื้นที่ชั้นใน 2. การบริหารจัดการ 2. 1 การพัฒนาระบบขนส่งมวลชน 2. 2 การจำกัดความเร็วสูงสุดของรถ 2. 3 การปรับปรุงสภาพผิวถนน 2. 4 การจัดการเรื่องร้องเรียนยานพาหนะเสียงดัง 2. 5 การบริการปรับแต่งท่อไอเสียงและตรวจวัดระดับเสียงยานพาหนะ 2. 6 การส่งเสริมและศึกษาวิจัยเทคโนโลยีลดมลพิษจากยาพาหนะ 2. 7 การสนับสนุนมาตรการด้านผังเมือง 3. มาตรการด้านกฎหมาย 3. 1 การกำหนดมาตรฐานระดับเสียงยานพาหนะ 3. 2 การตรวจสภาพรถก่อนต่อทะเบียน 3. 3 การตรวจจับยานพาหนะเสียงดัง 3. 4 การตรวจจับร้านจำหน่ายท่อไอเสียไม่ได้มาตรฐาน 4. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ กฏหมายที่เกี่ยวข้อง 1. ) มาตรฐาน /วิธีการตรวจวัด/ ข้อกำหนดเกี่ยวกับเสียงของยานพาหนะ รายละเอียด 2. ) ข้อหาหรือฐานความผิด รายละเอียด

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ. ศ. 2535 มีการกำหนดมาตรการในการควบคุมปัญหามลพิษทางเสียง ได้แก่ การกำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ตามมาตรา 32 ไม่เกิด 115 เดซิเบลเอ และค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ ในสิ่งแวดล้อมที่มีคนอยู่หรืออาศัย การกำหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษทางเสียงจากแหล่งกำเนิด เช่น ประกาศกระทรวงเรื่องกำหนดระดับเสียงของรถยนต์ จักรยานยนต์ และเรือกล ประกาศกระทรวงเรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสั่นสะเทือนจากการทำเหมืองหิน เป็นต้น 2. พระราชบัญญัติรถยนต์ พ. 2522 ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ. 2531) เรื่องกำหนดรายละเอียดการตรวจสภาพรถยนต์ที่จะจดทะเบียนได้ ว่าต้องผ่านการตรวจระบบการกรองเสียงด้วย 3. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านนํ้าไทย พ. 2546 ห้ามมิให้เรือก่อให้เกิดเสียงดังจนเป็นเหตุให้ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญ เช่น เสียงแตร นอกจากนั้นยังมีประกาศกรมเจ้าท่าฉบับที่ 38 (พ. 2515) เรื่อง การใช้เครื่องวัดเสียงดังของเรือกล ซึ่งกำหนดระดับเสียงที่ก่อให้เกิดความรำคาญ 4. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ. 2522 มีบทบัญญัติที่ว่าด้วยการห้ามมิให้นำรถที่มีเสียงดังซึ่งอาจทำให้ประชาชนทั่วไปเดือดร้อนรำคาญมาใช้ในทางเดินรถ นอกจากนั้นยังมีการประกาศกำหนดเกณฑ์เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์ของรถยนต์อีกด้วย 5.

5 เมตร มุม 45 องศา จากปลายท่อไอเสียหรือจากกราบเรือ โดยตั้งไมโครโฟนในระดับเดียวกันกับปลายท่อไอเสียและขนานกับผิวน้ำ ส่วนมลพิษทางเสียงและความสั่นสะเทือน กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง โทรศัพท์ 0 2298 2373 โทรสาร 0 2298 2392 E-mail: noise(at)pcd(dot)go(dot)th