1. โม ล และ สูตรเคมี ม 4.3
  2. สรุปสูตรเคมีม.4 - ปริมาณสารสัมพันธ์และสารละลาย - panyasociety.com
  3. โม ล และ สูตรเคมี ม 4.0
  4. โม ล และ สูตรเคมี ม 4.5

31 + 16. 00 = 40. 31 และมวลต่อโมลของสารมีค่าเป็นตัวเลขเท่ากับมวลสูตรของสารนั้น ดังนั้น มวลต่อโมลของแมกนีเซียมออกไซด์เท่ากับ 40. 31 กรัมต่อโมล นอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์ระหว่างโมล มวลและปริมาตรของแก๊สซึ่งเราควรจะจำให้ได้ โดยที่ อุณหภูมิและความดันที่ภาวะมาตรฐานของแก๊ส (standard temperature and pressure หรือ STP) แก๊ส 1 โมลจะมีปริมาตรเป็น 22. 4 ลิตร (ลูกบาศก์เดซิเมตร) ความสัมพันธ์เหล่านี้สามารถทำเป็นแผนภาพได้ดังนี้ Author: Tuemaster Admin ทีมงานจากเว็บไซต์ติวกวดวิชาออนไลน์ที่ดีที่สุด!! สำหรับ การเรียนออนไลน์ ม. ปลาย (ม. 4, ม. 5, ม. 6)

โม ล และ สูตรเคมี ม 4.3

โม ล และ สูตรเคมี ม 4.0

สรุปสูตรเคมีม.4 - ปริมาณสารสัมพันธ์และสารละลาย - panyasociety.com

  • โม ล และ สูตรเคมี ม 4.1
  • เช่า รถ ภู เก ต
  • การ์ด จอ gtx 1060 ti ราคา super
  • Tv tcl 40 นิ้ว ราคา plus
  • เลนส์กล้อง olympus em10 ราคาถูก ซื้อออนไลน์ที่ Lazada.co.th

โม ล และ สูตรเคมี ม 4.0

สารต่างชนิดกันที่มีจำ�นวนโมลเท่ากันจะมีมวลเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด ส่วนใหญ่ไม่เท่ากัน เพราะสารต่างชนิดกันส่วนใหญ่มีสูตรเคมีต่างกันทำ�ให้มีมวลสูตรต่างกัน 2. สารต่างชนิดกันมีจำ�นวนโมลเท่ากันจะมีจำ�นวนอนุภาคเท่ากันหรือไม่ สารที่มีอนุภาคอยู่ในรูปของอะตอมและโมเลกุลที่มีจำ�นวนโมลเท่ากันมีจำ�นวนอนุภาค เท่ากัน เช่น โลหะโซเดียมและแก๊สออกซิเจนจำ�นวน 1 โมล มีจำ�นวน 6. 02 × 10 23 อนุภาค เท่ากัน ส่วนสารที่อนุภาคอยู่ในรูปของไอออนที่มีจำ�นวนโมลเท่ากัน อาจมีจำ�นวนอนุภาคไม่เท่ากับ สารอื่น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของสารนั้น เช่น โซเดียมคลอไรด์ 1 โมล มีโซเดียมไอออน 6. 02 × 10 23 ไอออน และคลอไรด์ไอออน 6. 02 × 10 23 ไอออน จึงมีจำ�นวนไอออนทั้งหมด 2 × 6. 02 × 10 23 ไอออน ตรวจสอบความเข้าใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 4 | โมลและสูตรเคมี เคมี เล่ม 2 14 Made with FlippingBook RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4

โม ล และ สูตรเคมี ม 4.5

02 x 10 23 โมเลกุล C = 6. 02 x 10 23 อะตอม O = 2 x 6. 02 x 10 23 = 1. 204 x 10 24 อะตอม โซเดียมคาร์บอเนต (Na 2 CO 3) Na + = 2 x 6. 204 x 10 24 ไอออน CO 3 2- = 6. 02 x 10 23 ไอออน เนื่องจากมวลของ 12 C 1 อะตอม เท่ากับ 12 x 1. 66 x 10 -24 กรัม เราสามารถหา มวลต่อโมล (molar mass) ของ 12 C ได้โดย จะเห็นได้ว่ามวลของธาตุ 1 โมลในหน่วยกรัม (หรือมวลต่อโมล) มีค่าเป็นตัวเลขเท่ากับมวลอะตอมของธาตุนั้น ไนโตรเจนมีมวลอะตอมเท่ากับ 14. 01 ดังนั้น ไนโตรเจร 1 โมล จะมีมวล 14. 01 กรัม หรือมวลต่อโมลของไนโตรเจนเป็น 14. 01 กรัมต่อโมล เมื่อมีอะตอมของธาตุมารวมกันเป็นโมเลกุล ผลรวมของมวลอะตอมของธาตุในสูตรเคมีนั้น ๆ เรียกว่า มวลโมเลกุล (molecular mass) มวลโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์เท่ากับมวลอะตอมของคาร์บอน 1 อะตอม รวมกับมวลอะตอมของออกซิเจน 2 อะตอม หรือ (1 x 12. 01) + (2 x 16. 00) = 44. 01 ในทำนองเดียวกับอะตอม มวลต่อโมลของสารที่เป็นโมเลกุลก็เท่ากับมวลโมเลกุลของสารนั้น ดังนั้น มวลต่อโมลของคาร์บอนไดออกไซด์จึงเท่ากับ 44. 01 กรัมต่อโมล ส่วนสารที่ไม่อยู่ในรูปโมเลกุล สารประกอบไอออนิกหรือโลหะ ผลรวมของมวลอะตอมของธาตุในสูตรเคมี เรียกว่า มวลสูตร (formula mass) มวลสูตรของ แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) เท่ากับมวลอะตอมของแมกนีเซียมรวมกับมวลอะตอมของออกซิเจน คือ 24.