1. การถ่ายทอดพันธุกรรม ของ เมนเดล | dungjainang
  2. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด พืชเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะมีการสืบพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวนและดำรงพันธุ์ โดยลูกที่เกิดมาจะได้รับ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากต้นพ่อและต้นแม่ ทำให้มีลักษณะทางพันธุกรรมที่เฉพาะแตกต่าง จากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช เช่น ลักษณะของใบ สีดอก สีใบ ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายลักษณะพันธุกรรมของพืช การวัดผลและประเมินผล - การตอบคำถามในใบงาน - สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำกิจกรรม - สังเกตด้านคุณธรรมขณะทำกิจกรรม

การถ่ายทอดพันธุกรรม ของ เมนเดล | dungjainang

1 เป็นพืชที่ผสมตัวเอง ( self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย หรือจะทำการผสมข้ามพันธุ์ ( cross-fertilized) เพื่อสร้างลูกผสมก็ทำได้ง่ายโดยวิธีผสมโดยใช้มือช่วย ( hand pollination) 1. 2 เป็นพืชที่ปลูกง่าย ไม่ต้องทำนุบำรุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูกตั้งแต่ปลูก จนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย 1. 3 เป็นพืชที่ มีลักษณะทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำมาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน 1. เมนเดลรู้จักวางแผนการทดลอง 2. 1 เลือกศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อเข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะนั้น ๆ แล้ว เขาจึงได้ศึกษาการถ่ายทอดสองลักษณะไปพร้อม ๆ กัน 2. 2 ในการผสมพันธุ์จะใช้พ่อแม่ พันธุ์แท้ ( pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน มาทำการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย ( hand pollination) 2. 3 ลูกผสมจากข้อ 2. 2 เรียกว่าลูกผสมช่วงที่ 1 หรือ F1( first filial generation) นำลูกผสมที่ได้มาปลูกดูลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ 2. 4 ปล่อยให้ลูกผสมช่วงที่ 1 ผสมกันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมช่วงที่ 2 หรือ F2( second filial generation) นำลูกช่วงที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 1.

สิ่งแวดล้อม เป็นปัจจัยที่ทำให้ลักษณะภายนอกพืชต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะที่ควบคุมโดยพันธุกรรม ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่ สิ่งที่อยู่แวดล้อมพืช เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความชุ่มชื้นในดิน อุณหภูมิของบรรยากาศ โรคและศัตรูพืช ปัจจัยเหล่านี้อาจทำให้ พืชมีขนาดใหญ่ โตเร็ว หรือมีรสชาติดีเลวกว่าลักษณะที่แท้จริงได้ แต่เป็นลักษณะที่ไม่ถ่ายทอดไปสู่ชั่วลูกหลาน การคัดเลือกพืช จึงจำเป็นต้องมีวิธีการเลือกพืชให้ได้พืชลักษณะดี ที่เกิดจากการควบคุมทางพันธุกรรมอย่างแท้จริง เพื่อให้ลักษณะดีเหล่านั้น สามารถถ่ายทอดไปปรากฏแก่พืชในชั่วลูกหลานได้อย่างแน่นอน และคงอยู่ตลอดไป ๒.

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช

กฎการแยกตัว ( Mendel's Law of segregation) ในปี ค. ศ. 1900 หรือประมาณ 16 ปี หลังจากที่เมนเดลได้สิ้นชีวิตลง มีนักวิทยาศาสตร์ 3 ท่านคือ ฮิวโก เดอฟรีส์, คาร์ล คอร์เรนส์และ อีริค ฟอน เชอร์มาค ได้ค้นพบผลงานของเมนเดลที่ได้เสนอต่อสมาคมตั้งแต่ปี ค. 1865 และนักวิทยาศาสตร์ทั้งสามท่านนี้ต่างก็ได้ทดลองเพื่อพิสูจน์กฎของเมนเดล ผลการทดลองสอดคล้องกับเมนเดล ทุกประการ ไม่มีผู้ใดสามารถคัดค้านกฎของเมนเดลได้ และกฎของเมนเดลสามารถใช้ได้กับทั้งพืชและสัตว์จนกระทั่งในปัจจุบันนี้ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การทดลองของเมนเดล เมนเดลประสบผลสำเร็จในการทดลอง จนตั้งเป็นกฎเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่มายังลูกหลานในชั่วต่อๆมาได้เนื่องจากสาเหตุสำคัญสองประการคือ 1. เมนเดลรู้จักเลือกชนิดของพืชมาทำการทดลอง พืชที่เมนเดลใช้ในการทดลอง คือถั่วลันเตา (Pisum sativum) ซึ่งมีข้อดีในการศึกษาด้านพันธุศาสตร์หลายประการ เช่น 1. 1 เป็นพืชที่ผสมตัวเอง (self- fertilized) ซึ่งสามารถสร้างพันธุ์แท้ได้ง่าย หรือจะทำการผสมข้ามพันธุ์ (cross-fertilized) เพื่อสร้างลูกผสมก็ทำได้ง่าย โดยวิธีผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) 1. 2 เป็นพืชที่ปลูกง่าย ไม่ต้องทำนุบำรุงรักษามากนัก ใช้เวลาปลูกตั้งแต่ปลูก จนถึงเก็บเกี่ยวภายในหนึ่งฤดูปลูก (growing season) หรือประมาณ 3 เดือน เท่านั้น และยังให้เมล็ดในปริมาณที่มากด้วย 1.

ลักษณะของฝัก – ฝักพอง และ ฝักแฟบ (full & constricted) 5. ลักษณะสีของฝัก – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green) 6. ลักษณะตำแหน่งของฝัก-ด้านข้างลำต้น และปลายยอด (axial & terminal) 7. ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย (long & short)

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช

ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น ( round & wrinkled) 2. สีของเปลือกหุ้มเมล็ด – สีเหลือง และ สีเขียว ( yellow & green) 3. สีของดอก – สีม่วงและ สีขาว ( purple & white) 4. ลักษณะของฝัก – ฝักอวบ และ ฝักแฟบ ( full & constricted) 5. ลักษณะสีของฝัก – สีเขียว และ สีเหลือง ( green & yellow) 6. ลักษณะตำแหน่งของดอก-ดอกติดอยู่ที่กิ่ง และเป็นกระจุกที่ปลายยอด ( axial & terminal) 7. ลักษณะความสูงของต้น – ต้นสูง และ ต้นเตี้ย ( long & short)

การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมหลังการผสมพันธุ์ หลักการผสมพันธุ์ดังกล่าว นักปรับปรุงพันธุ์สามารถผสมพันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์พืชใหม่ หรือปรับปรุงพันธุ์ให้ดีกว่าพันธุ์เดิมได้ โดยการนำลักษณะที่ดีที่อยู่ในพืชต่างพันธุ์กัน มาผสมรวมกัน แล้วพยายามคัดเลือกให้ได้พันธุ์ที่มีลักษณะดังกล่าว แต่การสืบทอดลักษณะทางพันธุกรรม หรือที่เรียกว่า "กรรมพันธุ์" ของพืชนั้น จะเป็นตามกฎของกรรมพันธุ์ ซึ่งค้นพบ เมื่อ พ. ศ.

  1. ฮา บิ เที ย เวน ต์
  2. เฟ รด ดี้ ภาค 4.2
  3. 8 ดอกไม้หน้าฝนที่ควรหามาปลูกที่บ้าน เพิ่มสีสันสวยงามยามฝนโปรย | Livinginsider
  4. ชุด โต๊ะ ประชุม 10 ที่นั่ง พร้อม เก้าอี้ ราคา
  5. เหรียญ ไตรมาส หลวง พ่อ รวย ปี 59 grâce
  6. ดูหนัง Raging Phoenix (2008) จีจ้า ดื้อสวยดุ - ดูหนังออนไลน์ 2020 V8Movie หนังใหม่ HD ฟรี
  7. ล้อ แม็ ก ส วิ ฟรี
  8. Benz c63 amg 2017 ราคา interior
  9. ตลาดรถมือสองโคราช
  10. DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  11. เริ่ดมาก! เชียร์ลีดเดอร์ งานกีฬาสี ร.ร.สภาราชินี จ.ตรัง
รูป หล่อ หลวง พ่อ ทวด เนื้อ ทองเหลือง

3 เป็นพืชที่ มีลักษณะทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกันชัดเจนหลายลักษณะ ซึ่งในการทดลองดังกล่าว เมนเดลได้นำมาใช้ 7 ลักษณะด้วยกัน 2. เมนเดลรู้จักวางแผนการทดลอง 2. 1 เลือกศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของถั่วลันเตาแต่ละลักษณะก่อน เมื่อเข้าใจหลักการ ถ่ายทอดลักษณะนั้น ๆ แล้ว เขาจึงได้ศึกษาการถ่ายทอดสองลักษณะไปพร้อม ๆ กัน 2. 2 ในการผสมพันธุ์จะใช้พ่อแม่ พันธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน มาทำการผสมข้ามพันธุ์เพื่อสร้างลูกผสมโดยใช้มือช่วย (hand pollination) 2. 3 ลูกผสมจากข้อ 2 เรียกว่าลูกผสมชั่วที่ 1 หรือ F1( first filial generation) นำลูกผสมที่ได้มาปลูกดูลักษณะที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ 2. 4 ปล่อยให้ลูกผสมชั่วที่ 1 ผสมกันเอง ลูกที่ได้เรียกว่า ลูกผสมชั่วที่ 2 หรือ F2 ( second filial generation) นำลูกชั่วที่ 2 มาปลูกดูลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นว่า เป็นอย่างไร บันทึกลักษณะและจำนวนที่พบ ลักษณะต่าง ๆ ของถั่วลันเตาที่เมนเดล ใช้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 1. ลักษณะของเมล็ด – เมล็ดกลม และ เมล็ดย่น (round & wrinkled) 2. สีของใบเลี้ยง – สีเหลือง และ สีเขียว (yellow & green) 3. สีเปลือกเมล็ด – สีขาว และ สีเทา (white & gray) 4.

  1. Lazy hut เกาะ พยาม pantip indonesia
  2. แผ่น ปอ เปี๊ยะ ทํา อะไร ได้ บ้าง
  3. แอร์ โฮสเตส ต้อง จบ อะไร
  4. โหลด windows 10 iso 64 bit ultimate download
  5. Jame it shop คลอง สอง คลองหลวง ปทุมธานี